Who got commission and benefit..others choices for other assurance companies?
บริการด้านสินเชื่อ
ประเภทเงินกู้ | หลักเกณฑ์การให้กู้ |
ฉุกเฉิน | 1.เป็นสมาชิกครบ 6 เดือน 2.อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.25 ต่อปี 3.กู้ได้ 1 เท่าของเงินเดือน 4.ผ่อนชำระคืนไม่เกิน 12 งวด |
ฉุกเฉิน ATM | 1.เป็นสมาชิกครบ 6 เดือน 2.อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.25 ต่อปี 3.กู้ได้ 1 เท่าของเงินเดือน 4.ผ่อนชำระคืนไม่เกิน 12 งวด |
ประเภทเงินกู้ | หลักเกณฑ์การให้กู้ |
เงินกู้สามัญ | 1.อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.25 ต่อปี 2.ผ่อนชำระหนี้สูงสุดได้ไม่เกิน 150 งวด 3.กู้สามัญไม่เกิน 45 เท่า ของเงินได้รายเดือนตามระยะเวลาการเป็นสมาชิกดังนี้ 1) เป็นสมาชิกสหกรณ์ตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี มีสิทธิ์กู้เงินสามัญได้ไม่เกิน 700,000 บาท 2) เป็นสมาชิกสหกรณ์ตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป มีสิทธิกู้เงินสามัญ ได้ไม่เกิน 2,500,000 บาท |
หลักประกันเงินกู้ |
1.ตั้งแต่ 100,000 - 700,000 บาท ใช้บุคคลค้ำประกัน 2 คน |
2.ตั้งแต่ 700,001 - 2,000,000 บาท ใช้บุคคลค้ำประกัน 3 คน |
3.กรณีกู้เงินโดยใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน ใช้หลักทรัพย์ปลอดภาระจำนอง จดจำนองเป็นประกันเงินกับสหกรณ์ และให้ทำประกันชีวิตเพิ่ม ตามเงื่อนไขของการใช้บุคคลค้ำประกัน |
4.กู้เงินในวงเงิน 90% ของเงินค่าหุ้น หรือเงินฝากที่มีอยู่กับสหกรณ์ ไม่ต้องมีหลักประกันอื่นเพิ่ม |
5.การทำประกันชีวิตเพิ่ม นำเงินค่าหุ้นและทุนประกันสวัสดิการจำนวน 100,000 บาท หักจากวงเงินที่กู้ เมื่อหักแล้วจำนวนที่เกินให้ทำประกันเพิ่ม ตามประกาศของสหกรณ์ฯ สำหรับผู้ที่กู้เงินไม่เกิน 100,000 บาท หรือ กู้ในวงเงินร้อยละ 90 ของเงินค่าหุ้น/เงินฝาก ไม่ต้องทำประกันชีวิตเพิ่ม |
ประเภทเงินกู้ | คุณสมบัติผู้กู้ /การรับเงินกู้ | เงื่อนไขการให้กู้ /การผ่อนชำระ |
เงินกู้พิเศษ | 1.เป็นสมาชิกสหกรณ์ ครบ 1 ปี 2.รับเงินกู้จากบัญชีออมทรัพย์อเนกประสงค์ โดยกดรับเงินฝาก ทาง ATM ธนาคารกรุงไทย | |
เงินกู้พิเศษ | เงื่อนไขการกู้/เอกสารประกอบ | หลักหลักประกันเงินกู้พิเศษ |
เพื่อการศึกษา | 1.เพื่อใช้จ่ายสำหรับการศึกษาของสมาชิก หรือบุตรสมาชิก 2.วงเงินกู้ ให้กู้ได้สูงสุด 300,000 บาท 3.ระยะเวลาผ่อนชำระ สูงสุด 48 งวด 4.แนบเอกสารจากสถาบันการศึกษา ค่า ใช้จ่ายตลอดหลักสูตร ค่าใช้จ่ายต่องวด/ปี การศึกษา บัตรประจำตัวนักศึกษา กรณี เป็นบุตรให้แนบทะเบียนบ้านของบุตร | 1. หลักประกันเงินกู้ ใช้บุคคลค้ำประกัน 2 คน 2. กรณีกู้เงินไม่เกินร้อยละ 90 ของเงินค่าหุ้น ไม่ต้องมีหลัก ประกันอื่น |
เพื่อการลงทุนประกอบอาชีพ | 1.เพื่อใช้จ่ายสำหรับการศึกษาของสมาชิก หรือบุตรสมาชิก 2.วงเงินกู้ ให้กู้ได้ สูงสุด1,000,000 บาท 3.ระยะเวลาผ่อนชำระ สูงสุด 120 งวด 4.แนบเอกสารแผนธุรกิจ จำนวนเงินลง ทุนเป้าหมายรายได้ ระยะเวลาคืนทุน สำเนาหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำประกัน และ หนังสือประเมินราคาหลักทรัพย์ | 1. ใช้หลักทรัพย์ ที่ปลอดภาระ จำนอง จดจำนองเป็นหลัก ประกัน กับสหกรณ์ 2. กรณีกู้เงินไม่เกินร้อยละ 90 ของเงิน ค่าหุ้น ไม่ต้องมีหลัก ประกันอื่น |
เงินกู้สามัญ ประเภทโครงการ | 1.เป็นสมาชิกสหกรณ์ ครบ 1 ปี 2.รับเงินกู้จากบัญชีออมทรัพย์อเนกประสงค์โดยกดรับเงินฝากทาง ATM ธนาคารกรุงไทย | |
เงินกู้สามัญ | เงื่อนไขการกู้/เอกสารประกอบ | หลักประกันเงินกู้สามัญ |
เพื่อประหยัดพลังงาน |
| 1.หลักประกันเงินกู้ ใช้ บุคคลค้ำ ประกัน 2 คน 2.กรณีกู้เงินไม่เกิน ร้อยละ 90 ของเงินค่าหุ้น ไม่ต้อง มีหลัก ประกันอื่น |
เพื่อซื้อเครื่องมือ ICT และอุปกรณสื่อสาร |
| 1.หลักประกันเงินกู้ ใช้บุคคลค้ำ ประกัน 2 คน 2.กรณีกู้เงินไม่เกิน ร้อยละ 90 ของเงินค่าหุ้นไม่ต้อง มีหลักประกันอื่น |
เพื่อการท่องเที่ยว |
| |
เพื่อการเคหะสงเคราะห์ |
|
การจ่ายเงินกู้ : สหกรณ์จะโอนเงินกู้ ผ่านบัญชีเอนกประสงค์ของสมาชิก โดยสมาชิกสามารถรับเงินกู้ทาง
ATM จากธนาคารกรุงไทย
แจ้งผลการอนุมัติเงินกู้ให้สมาชิกทราบผ่านทางระบบ SMS
การชำระเงินให้สหกรณ์โดยการโอนเงิน
1.ระบบ Bill payment ที่เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย
-ใช้แบบฟอร์มการฝากเงินจาก web Site สอ.พช. หรือสลิปชำระสินค้าของธนาคาร กำหนดรหัสการ
ชำระเงิน 7124 และระบุวัตถุประสงค์การชำระ
-ค่าธรรมเนียมการโอน 0.01% ของเงินที่โอนสูงสุดไม่เกิน 100 บาท
2. ระบบ Bill payment ผ่านหน้าเคาน์เตอร์ธนาคารธนชาต
-ใช้แบบฟอร์มการฝากเงินจาก web Site สอ.พช. กำหนดรหัสการฝาก 8151 และระบุวัตถุประสงค์
การฝาก
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ | |
เงินกู้ฉุกเฉิน | 7.25% |
เงินกู้ฉุกเฉินกระแสรายวัน (ATM) | 7.25% |
เงินกู้สามัญปกติ | 7.25% |
เงินกู้สามัญเพื่อซื้อเครื่องมือ ICT และอุปกรณ์สื่อสาร | 6.00% |
เงินกู้สามัญเพื่อประหยัดพลังงาน (ติดตั้งแก๊สรถยนต์) | 4.75% |
เงินกู้พิเศษเพื่อการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก | 5.50% |
เงินกู้พิเศษเพื่อการลงทุนประกอบอาชีพ | 6.25% |
เงินกู้พิเศษเพื่อการเคหะสงเคราะห์ ปีที่ 1 ปีที่ 2 เป็นต้นไป | 5.50% 6.00% |
เงินกู้สวัสดิการเพื่อการท่องเที่ยว | 6.50% |
http://www.cddco-op.com/private_folder/appform/ktb1.pdf
http://dkstowers.com/5-simple-ways-to-boost-your-commissions/
https://www.kaiaridee.com/%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B0.html
ตัวแทนประกันชีวิต ยังคงเป็นช่องทางหลักในการขายประกันชีวิต โดย "สาระ ล่ำซำ" นายกสมาคมประกันชีวิตไทย ระบุว่า ช่องทางตัวแทนเป็นช่องทางที่เข้าถึงลูกค้าได้ดีที่สุด ในทุกกลุ่มทุกระดับ กระทั่งกลุ่มรากหญ้าที่เน้นการขาย แบบประกันไมโครอินชัวรันส์ ซึ่งแม้จะเป็นสินค้าที่ไม่ซับซ้อน และมีช่องทาง การขายหลากหลายที่จะช่วยเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย แต่สุดท้ายแล้วยังต้องอาศัย ตัวแทนประกันชีวิตในการสร้างความเข้าใจให้กับลูกค้า
"ช่องทางขายหลากหลาย ก็เพื่อให้ลูกค้า เข้าถึงประกันได้ง่ายขึ้น ซึ่งก็ขึ้นกับความสะดวก และ ไลฟ์สไตล์ของแต่ละคนว่าสะดวกที่จะซื้อประกันผ่านช่องทางไหน แต่วัดกันจริงๆ ตัวแทนยังเป็นช่องทางที่เข้าถึงลูกค้าได้ดีที่สุด"
ขณะที่การสอบตัวแทนประกันชีวิตกำลังอยู่ ในช่วงของการปรับปรุงข้อสอบ และทำคู่มือสอบ เพื่อให้ยอดสมัครสอบกระเตื้องขึ้นจากที่ลดฮวบ ฮาบกว่า 10% เพื่อให้การสร้างตัวแทนใหม่ของบริษัทประกันชีวิตเป็นไปตามแผนการผลิตผลงานเบี้ยประกัน หากมองในมุมของรายได้ของ ตัวแทนประกันชีวิต ที่เรียกว่า "ค่าบำเหน็จ" หรือ "ค่าคอมมิสชั่น" ยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
การทำประกันชีวิตถือเป็นหนึ่งในการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลที่สำคัญในชีวิตของคนเรา ประกันชีวิตจากชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นการประกันชีวิตของเรา จุดมุ่งหมายหลักของประกันชีวิต ก็คือ ความคุ้มครองความเสี่ยงให้กับชีวิต เป็นการจ่ายเบี้ยประกันเพื่อคุ้มครองโอกาสและความไม่แน่นอนที่เราจะเสียชีวิตได้ในวันใดวันหนึ่ง หากเกิดเหตุการณ์สูญเสียขึ้นจริง ๆ บริษัทประกันก็จะทำการจ่ายเงินค่าชดเชยตามวงเงินที่เราทำประกันเอาไว้ รูปแบบของประกันชีวิตแบบนี้เป็นแบบดั้งเดิม เข้าใจง่าย ๆ ค่าเบี้ยประกันที่เราจ่ายไปก็ถือเป็นค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อคุ้มครองการเสียชีวิต หากไม่เสียชีวิตก็จะไม่ได้รับเงินคืน
ต่อมาประกันชีวิตก็มีรูปแบบที่เพิ่มขึ้นเพื่อให้ประกันชีวิตขายได้ง่ายขึ้น กรณีประกันชีวิตแบบดั้งเดิมที่จ่ายเบี้ยทิ้งนั้น หากคนที่ยังไม่เคยเกิดการสูญเสียก็อาจจะเข้าใจยาก เลยไม่ค่อยยอมจ่ายเบี้ยทิ้งกัน ประกันชีวิตเลยมีการพัฒนาให้มีรูปแบบของการประกันชีวิตพ่วงการสะสมทรัพย์เข้ามาด้วย โดยนอกจากมีความคุ้มครองในเรื่องของการเสียชีวิตแล้ว หากมีชีวิตอยู่จนถึงกำหนดระยะเวลาก็ยังได้เงินคืนพร้อมผลประโยชน์ แม้วงเงินคุ้มครองกรณีเสียชีวิตจะไม่มากเท่ากับประกันชีวิตแบบจ่ายทิ้ง แต่คนก็นิยมซื้อแบบสะสมทรัพย์กันมาก เพราะได้เงินคืน
ช่องทางการขายประกันชีวิตตั้งแต่ในอดีตมาส่วนมากจะใช้เป็นระบบตัวแทน คือ ผู้ที่ต้องการซื้อประกันชีวิตต้องซื้อผ่านตัวแทนเท่านั้น ตัวแทนนี้จะทำหน้าที่เป็นเหมือนผู้แนะนำกรมธรรม์ เป็นที่ปรึกษา และช่วยเหลือในกรณีเบิกเคลมให้กับเรา โดยที่ได้ค่าตอบแทนเป็นเงินค่าคอมมิชชั่นที่หักจากค่าเบี้ยประกันของเราในปีแรก ๆ ระบบซื้อประกันชีวิตผ่านตัวแทนนี้ก็ยังเป็นที่นิยมกันมาจนถึงปัจจุบัน จนภายหลังก็มีช่องทางในการขายประกันชีวิตแบบอื่น ๆ เช่น ซื้อผ่านธนาคาร ซื้อผ่าน call center ของทางบริษัท เป็นต้น
https://moneyhub.in.th/article/insurance-sale/
https://www.facebook.com/thailifepage/posts/559947447376542http://money.sanook.com/163886/
1.คิดค่าคอม 40% คิดยังไงหรอครับ ลูกค้าจ่ายเบิ้ยมา 25,655 บาท ผมได้ค่าคอม 6492 บาท ทัพปันผล1(มีเงินปันผล) หรอว่าแล้วแต่กรมธรรม์
2.ลูกค้าจะทำให้พ่อ พ่ออายุ 45 เราจะแนะนำกรมธรรม์ใหนดีครับ ลูกค้าบอกเน้นสุขภาพ ประหยัด ตังไม่ค่อยมี ประมาณนี้ครับ
3.ผู้หญิงอายุ 44 เน้นสุขภาพ ประหยัด เลือกกรมธรรม์ใหนให้เขาดีครับ
ช่วยตอบผมหน่อยนะครับ ผมเป็นตัวแทนใหม่อะไรๆก็ยังไม่ค่อยเข้าใจพึ่งไปสอบใบอนุญาตผ่านแล้ว พี่เลี้ยงเขาก็จัดการให้หมดเลยผมก็ยังไม่แน่ใจว่าผมเป็นตัวแทนไทยประกันแล้วหรือยัง โค้ตตัวแทนอะไรยังไงผมยังงงเลยแต่ผมขายได้แล้วตามคำถามข้อ 1ครับ ช่วยตอบด้วยครับกลัวลูกค้าหลุดมืออีก 2 ราย อิอิ ขอบคุณล่วงหน้าครับผม